ภาคผนวก
ตารางเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่) พ.ศ. ....
ประกอบความเห็นของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
__________
ร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (คณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นผู้เสนอ) | ร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (พล.ต.ท. วิโรจน์ เปาอินทร์ เป็นผู้เสนอ) | ร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (นายพีรพันธุ์ พาลุสุข เป็นผู้เสนอ) | ร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มติคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง) |
---|---|---|---|
ร่าง พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ...................................... ...................................... ...................................... ............................................................................................................ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ..........................................................................................................
| ร่าง พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ..................................... ...................................... ...................................... ............................................................................................................. โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น .......................................................................................................... | ร่าง พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ..................................... ...................................... ...................................... ............................................................................................................. โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น .......................................................................................................... | ร่าง พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ..................................... ...................................... ...................................... .......................................................................................................... โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น.......................................................................................................... |
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า“พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
| มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... |
| มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต. |
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
| มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป | มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
| มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต. |
มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕
“มาตรา ๗/๑ ในกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าเพราะเหตุใด จนเป็นเหตุให้ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นไม่พร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะครบวาระโดยมีระยะเวลาห่างกันไม่เกินเก้าสิบวัน คณะกรรมการการเลือกตั้งอาจมีคำสั่งให้การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นพร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะครบวาระก็ได้”
|
| มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕
“มาตรา ๗/๑ ในกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าเพราะเหตุใด จนเป็นเหตุให้ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นไม่พร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะครบวาระโดยมีระยะเวลาห่างกันไม่เกินเก้าสิบวัน คณะกรรมการการเลือกตั้งอาจมีคำสั่งให้การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นพร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะครบวาระก็ได้” | มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕
“มาตรา ๗/๑ ในกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งไม่ว่าเพราะเหตุใด จนเป็นเหตุให้ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นไม่พร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะครบวาระโดยมีระยะเวลาห่างกันไม่เกินเก้าสิบวัน คณะกรรมการการเลือกตั้งอาจมีคำสั่งให้การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นพร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะครบวาระก็ได้” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต. |
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๔ ในการแบ่งเขตเลือกตั้งต้องพยายามจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้งใกล้เคียงกันมากที่สุดและต้องแบ่งพื้นที่ของแต่ละเขตเลือกตั้งให้ติดต่อกัน เว้นแต่มีเหตุจำเป็นตามสภาพพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำให้ไม่อาจแบ่งเขตเลือกตั้งให้มีพื้นที่ติดต่อกันได้ ในเขตเทศบาลหรือเขตชุมชนหนาแน่น อาจกำหนดให้ใช้แนวถนน ตรอกหรือซอย คลองหรือแม่น้ำเป็นแนวเขตเลือกตั้งได้สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร มิให้นำพื้นที่เพียงบางส่วนของเขตหนึ่งไปรวมกับเขตอื่น” | มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๔ ในการแบ่งเขตเลือกตั้งต้องพยายามให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้งใกล้เคียงกันและต้องแบ่งพื้นที่ของแต่ละเขตเลือกตั้งให้ติดต่อกัน เว้นแต่มีเหตุจำเป็นตามสภาพพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำให้ไม่อาจแบ่งเขตเลือกตั้งให้มีพื้นที่ติดต่อกันได้ ในเขตเทศบาลหรือเขตชุมชนหนาแน่น อาจกำหนดให้ใช้แนวถนน ตรอกหรือซอย คลองหรือแม่น้ำเป็นแนวเขตเลือกตั้งได้” | มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๔ ในการแบ่งเขตเลือกตั้งต้องพยายามให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้งใกล้เคียงกันและต้องแบ่งพื้นที่ของแต่ละเขตเลือกตั้งให้ติดต่อกัน เว้นแต่มีเหตุจำเป็นตามสภาพพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำให้ไม่อาจแบ่งเขตเลือกตั้งให้มีพื้นที่ติดต่อกันได้ ในเขตเทศบาลหรือเขตชุมชนหนาแน่น อาจกำหนดให้ใช้แนวถนน ตรอกหรือซอย คลองหรือแม่น้ำเป็นแนวเขตเลือกตั้งได้” | มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๔ ในการแบ่งเขตเลือกตั้งต้องพยายามให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้งใกล้เคียงกันและต้องแบ่งพื้นที่ ของแต่ละเขตเลือกตั้งให้ติดต่อกัน เว้นแต่มีเหตุจำเป็นตามสภาพพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำให้ไม่อาจแบ่งเขตเลือกตั้งให้มีพื้นที่ติดต่อกันได้ ในเขตเทศบาลหรือเขตชุมชนหนาแน่น อาจกำหนดให้ใช้แนวถนน ตรอกหรือซอย คลองหรือแม่น้ำเป็นแนวเขตเลือกตั้งได้ เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต. |
มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(๒) คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจำนวนเจ็ดคนไม่น้อยกว่าเก้าคน ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการอีกหกคนไม่น้อยกว่าแปดคน มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการลงคะแนนเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตั้งในที่เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้ง”
|
| มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(๒) คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งไม่เกินเก้าคน ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการไม่เกินแปดคน มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการลงคะแนนเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตั้งในที่เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้ง”
| มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(๒) คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งไม่เกินเก้าคน ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการไม่เกินแปดคน มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการลงคะแนนเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตั้งในที่เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้ง” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของนายพีรพันธุ์ ที่กำหนดจำนวนคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง “ไม่เกินเก้าคน” เนื่องจากการเลือกตั้งท้องถิ่นบางหน่วยเลือกตั้งอาจมีคณะกรรมการ ๗ - ๙ คนก็ได้
|
มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในวรรคสามของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ให้ผู้อำนวยการเลือกตั้งประจำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำที่เลือกตั้งอย่างน้อยที่เลือกตั้งละหนึ่งคน”
|
| มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในวรรคสามของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ให้ผู้อำนวยการเลือกตั้งประจำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำที่เลือกตั้งอย่างน้อยที่เลือกตั้งละหนึ่งคน” | มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในวรรคสามของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ให้ผู้อำนวยการเลือกตั้งประจำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำที่เลือกตั้งอย่างน้อยที่เลือกตั้งละหนึ่งคน” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต. |
มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๔ ในวันเลือกตั้ง ถ้าถึงเวลาเปิดการลงคะแนนเลือกตั้งแล้วมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่ไม่ครบเจ็ดเก้าคน ให้กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งเท่าที่มีอยู่ในขณะนั้นแต่งตั้งผู้มีสิทธิ เลือกตั้งในเขตเลือกตั้งจังหวัดนั้น เป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจนครบเจ็ดเก้าคนไปพลางก่อนจนกว่ากรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ได้รับแต่งตั้งไว้แล้วจะมา ปฏิบัติหน้าที่ เว้นแต่ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งสำรองไว้ ให้ผู้นั้นเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน” |
| มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๔ ในวันเลือกตั้ง ถ้าถึงเวลาเปิดการลงคะแนนเลือกตั้งแล้วมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่ไม่ ครบตามจำนวนที่แต่งตั้งไว้ ให้กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งเท่าที่มีอยู่ในขณะนั้น เป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจนครบไปพลางก่อน จนกว่ากรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ได้รับแต่งตั้งไว้แล้วจะมาปฏิบัติหน้าที่ เว้นแต่ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งสำรองไว้ ให้ผู้นั้นเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน” | มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๔ ในวันเลือกตั้ง ถ้าถึงเวลาเปิดการลงคะแนนเลือกตั้งแล้วมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่ไม่ ครบตามจำนวนที่แต่งตั้งไว้ แต่หากมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งซึ่งมาปฏิบัติหน้าที่มีจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ให้กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งเท่าที่มีอยู่ในขณะนั้นเริ่มปฏิบัติหน้าที่ได้ เป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจนครบ ไปพลางก่อน จนกว่ากรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ได้รับแต่งตั้งไว้แล้วจะมาปฏิบัติหน้าที่ เว้นแต่ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งสำรองไว้ ให้ผู้นั้นเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน”
เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของนายพีรพันธุ์ เนื่องจากเป็นการรับรองกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่มาปฏิบัติหน้าที่ขณะนั้นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งไปพลางก่อน จนกว่ากรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่ได้รับแต่งตั้งไว้จะมาปฏิบัติหน้าที่ แต่กรรมการที่มาปฏิบัติหน้าที่ในขณะนั้นต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง จึงเพิ่มเติมข้อความว่า “หากมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งซึ่งมาปฏิบัติหน้าที่มีจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง” และตัดคำว่า “จนครบ” ออก |
มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง และ”
| มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันเลือกตั้ง และ” | มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง และ” | มาตรา ๘ ยกเลิก เหตุผล เห็นควรใช้หลักการเดิมคือ “เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปี” เนื่องจากระยะเวลาเก้าสิบวัน อาจมีปัญหาเรื่องการโยกย้ายคนเข้ามาในทะเบียนบ้านเพื่อทุจริตในการเลือกตั้ง และคนที่ย้ายเข้าไม่มีการสร้างความผูกพันกับท้องถิ่นเท่าที่ควร การเลือกตั้งท้องถิ่นควรเป็นเรื่องของท้องถิ่นที่อยู่ด้วยกันตามระยะเวลาที่พอสมควร จึงไม่เห็นด้วยกับการแก้ไข |
มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่มีการย้ายทะเบียนบ้านออกจากเขตเลือกตั้งหนึ่งไปยังอีกเขตเลือกตั้งหนึ่ง ภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกัน อันทำให้บุคคลมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันน้อยกว่าหนึ่งปีเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง ให้บุคคลนั้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านครั้งสุดท้ายเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า หนึ่งปีเก้าสิบวัน” | มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่มีการย้ายทะเบียนบ้านออกจากเขตเลือกตั้งหนึ่งไปยังอีกเขตเลือกตั้งหนึ่ง ภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกัน อันทำให้บุคคลมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันน้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง ให้บุคคลนั้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านครั้งสุดท้ายเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน” | มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่มีการย้ายทะเบียนบ้านออกจากเขตเลือกตั้งหนึ่งไปยังอีกเขตเลือกตั้งหนึ่ง ภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกัน อันทำให้บุคคลมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันน้อยกว่าหนึ่งปีนับถึงวันเลือกตั้ง ให้บุคคลนั้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านครั้งสุดท้ายเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน”
| มาตรา ๙ ยกเลิก เหตุผล เนื่องจากการแก้ไขร่างมาตรา ๘ ให้ใช้หลักการเดิมคือ “เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปี” เพื่อให้สอดคล้องกันร่างมาตรา ๙ ควรใช้หลักการเดิมเช่นกัน |
มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ภายในกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศผลการ หลังจากวันเลือกตั้ง ผู้สมัครแต่ละคนต้องยื่นบัญชีรายรับและรายจ่ายในการเลือกตั้งซึ่งรับรองความถูกต้อง พร้อมทั้งหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนตามความจริงต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด” | มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ภายในกำหนดเก้าสิบวันหลังจากวันเลือกตั้ง ผู้สมัครแต่ละคนต้องยื่นบัญชีรายรับและรายจ่ายในการเลือกตั้งซึ่งรับรองความถูกต้อง พร้อมทั้งหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนตามความจริงต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด” | มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ภายในกำหนดเก้าสิบวันหลังจากวันเลือกตั้ง ผู้สมัครแต่ละคนต้องยื่นบัญชีรายรับและรายจ่ายในการเลือกตั้งซึ่งรับรองความถูกต้อง พร้อมทั้งหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนตามความจริงต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด” | มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ภายในกำหนดเก้าสิบหนึ่งร้อยยี่สิบวันหลังจากวันเลือกตั้ง ผู้สมัครแต่ละคนต้องยื่นบัญชีรายรับและรายจ่ายในการเลือกตั้งซึ่งรับรองความถูกต้อง พร้อมทั้งหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนตามความจริงต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต. แต่เนื่องจากในการทำบัญชีรายรับและรายจ่าย ในการเลือกตั้งบางรายการไม่สามารถทำได้โดยง่าย อาจต้องขอหลักฐานและเอกสารต่างๆ ซึ่งหลักการเดิมกำหนดให้ “ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศผล” และ กกต. จะประกาศผลภายในสามสิบวัน และแก้ไขเพิ่มเติมข้อความจาก “ภายในกำหนดเก้าสิบวันหลังจากวันเลือกตั้ง” เป็น “ภายในกำหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันหลังจากวันเลือกตั้ง” ตามข้อเสนอของตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๙๘ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคำสั่งให้นับคะแนนเลือกตั้งใหม่ และปรากฏผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงผู้ได้รับเลือกตั้ง หรือในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคำสั่งให้มีการ ให้ผู้ได้รับเลือกตั้งเดิมพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่ ให้ผู้ได้รับเลือกตั้งเดิมพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันประกาศผลการนับคะแนนเลือก ตั้งใหม่หรือวันที่มีคำสั่งให้มีการเลือกตั้งใหม่ แล้วแต่กรณี แต่ทั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนกิจการที่ผู้นั้นได้กระทำไปในหน้าที่ก่อนวันประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่หรือวันที่มีคำสั่งให้มีการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่” | มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๙๘ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคำสั่งให้นับคะแนนเลือกตั้งใหม่ และปรากฏผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงผู้ได้รับเลือกตั้ง ให้ผู้ได้รับเลือกตั้งเดิมพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่ แต่ทั้งนี้ไม่กระทบ กระเทือนกิจการที่ผู้นั้นได้กระทำไปในหน้าที่ก่อนวันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่” | มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๙๘ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคำสั่งให้นับคะแนนเลือกตั้งใหม่และปรากฏผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงผู้ได้รับเลือกตั้ง ให้ผู้ได้รับเลือกตั้งเดิมพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่ แต่ทั้งนี้ไม่กระทบ กระเทือนกิจการที่ผู้นั้นได้กระทำไปในหน้าที่ก่อนวันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่” | มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๙๘ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคำสั่งให้นับคะแนนเลือกตั้งใหม่และปรากฏผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงผู้ได้รับเลือกตั้ง ให้ผู้ได้รับเลือกตั้งเดิมพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่ แต่ทั้งนี้ไม่กระทบ กระเทือนกิจการที่ ผู้นั้นได้กระทำไปในหน้าที่ก่อนวันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติรับรองการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้งใหม่” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต.
|
มาตรา ๑๒ ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๙๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ “มาตรา ๙๙/๑ ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งต้องจัดให้มีการเลือกตั้ง เพราะเหตุที่สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นลาออกจากตำแหน่งเพื่อสมัครรับเลือกตั้งหรือรับการสรรหาสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา กำนัน ผู้ใหญ่บ้านภายในหนึ่งปีนับแต่วันลาออก ให้ผู้นั้นรับผิดชดใช้ค่าใช้จ่ายสำหรับการเลือกตั้งใหม่นั้น ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา ๙๙ มาใช้บังคับกับการเรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายตามมาตรานี้”
| มาตรา ๘ ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๙๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ “มาตรา ๙๙/๑ ในกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกสภาท้องถิ่นผู้ใดลาออกจากตำแหน่ง ทำให้ต้องมีการเลือกตั้งใหม่หรือแทนตำแหน่งที่ว่าง แล้วแต่กรณี ถ้าผู้ซึ่งลาออกนั้นมาสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งที่ตนลาออก ให้ผู้ซึ่งลาออกนั้นรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายในการจัดเลือกตั้งครั้งนั้น เว้นแต่การลาออกมีเหตุผลอันสมควรตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนด” | มาตรา ๑๒ ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๙๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ “มาตรา ๙๙/๑ ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งต้องจัดให้มีการเลือกตั้ง เพราะเหตุที่สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นลาออกจากตำแหน่งเพื่อสมัครรับเลือกตั้งหรือรับการสรรหาสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา กำนัน ผู้ใหญ่บ้านภายในหนึ่งปีนับแต่วันลาออก ให้ผู้นั้นรับผิดชดใช้ค่าใช้จ่ายสำหรับการเลือกตั้งใหม่นั้น ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา ๙๙ มาใช้บังคับกับการเรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายตามมาตรานี้” | มาตรา ๘ ๑๒ ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๙๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ “มาตรา ๙๙/๑ ในกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกสภาท้องถิ่นผู้ใดลาออกจากตำแหน่ง ทำให้ต้องมีการเลือกตั้งใหม่หรือแทนตำแหน่งที่ว่าง แล้วแต่กรณี ถ้าผู้ซึ่งลาออกนั้นมาสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งที่ตนลาออก ให้ผู้ซึ่งลาออกนั้นรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายในการจัดเลือกตั้งครั้งใหม่หรือแทนตำแหน่งที่ว่างนั้น ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา ๙๙ มาใช้บังคับกับการเรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายตามมาตรานี้” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของพลตำรวจโทวิโรจน์ฯ และแก้ไขเพิ่มเติมข้อความจาก “... ในค่าใช้จ่ายในการจัดเลือกตั้งครั้งนั้น” เป็น “... ในค่าใช้จ่ายในการจัดการเลือกตั้งครั้งใหม่หรือแทนตำแหน่งที่ว่างนั้น ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา ๙๙ มาใช้บังคับกับการเรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายตามมาตรานี้” เนื่องจากการกำหนดให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หากลาออกจากตำแหน่งต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งใหม่ ควรเป็นกรณีที่สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นซึ่งลาออกนั้น มาสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งที่ตนลาออก
|
|
| มาตรา ๑๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๑๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ “มาตรา ๑๑๓/๑ ผู้ใดรู้อยู่แล้ว่าตนเองไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หรือเป็นผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งได้สมัครรับเลือกตั้งหรือสมัครรับเลือกตั้งโดยฝ่าฝืนมาตรา ๔๔ หรือมาตรา ๔๕ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้าปีและปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาทและให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดห้าปี” | มาตรา ๑๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๑๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ “มาตรา ๑๑๓/๑ ผู้ใดรู้อยู่แล้ว่าตนเองไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หรือเป็นผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งได้สมัครรับเลือกตั้งหรือสมัครรับเลือกตั้งโดยฝ่าฝืนมาตรา ๔๔ หรือมาตรา ๔๕ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้าปีและปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาทและให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดห้าปี” เหตุผล เห็นชอบตามร่างฯ ของนายพีรพันธุ์ เนื่องจากพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ ไม่ได้บัญญัติบทลงโทษผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นที่ฝ่าฝืนมาตรา ๔๔ หรือมาตรา ๔๕ ซึ่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๓๙ ได้กำหนดไว้เช่นกัน |
บทเฉพาะกาล ------------ มาตรา ๑๓ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ให้ดำเนินการต่อไป โดยยังไม่นำบทบัญญัติตามพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ |
มาตรา ๙ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ให้ดำเนินการต่อไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ ก่อนแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ | บทเฉพาะกาล ------------ มาตรา ๑๔ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จให้ดำเนินการต่อไป โดยยังไม่นำบทบัญญัติตามพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ | บทเฉพาะกาล ------------ มาตรา ๑๓ ๑๔ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จให้ดำเนินการต่อไป โดยยังไม่นำบทบัญญัติตามพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ มติที่ประชุม เห็นชอบตามร่างฯ ของ กกต.
|